วันพุธที่ 9 ธันวาคม พ.ศ. 2558

Diary Note 30 November 2015

Diary Note No.11

Substance


ทำท่าบริหารสมองนวดไหปลาร้า

  • นวดขมับ
  • นวดหู
  • มือซ้ายหูขวา มือขวาหูซ้าย
  • มือซ้ายแตะจมูก มือขวาจับติ่งหู
  • มือซ้ายจีบ มือขวาแอล
  • นับ 1-10
  • ลูบและทุบ
  • ผสานนิ้วผ่อนคลาย
ส่งการบ้านเมื่อสัปดาห์ที่แล้วนำงานไปติดที่พนักหลังห้องเพื่อชมผลงานของแต่ละบุคคล





  • หลังจากนั้นอาจารแจกของรางวัลคนที่สะสมปั้มได้มากที่สุดหนูได้รางวัลชมเชยค่ะได้ที่คั้นหนังสือน่ารัก

 ความรู้ที่ได้รับ
  • ได้ฝึกการทำงานศิลปะและการนำภาพทั้งหมดมารวมเป็นรูปเดียวกัน
ประเมินเพื่อนร่วมห้อง
  • เพื่อนให้ความร่วมมือดี
ประเมินอาจารย์ผู้สอน
  • อาจารย์มีน้ำเสียงที่น่าฟังเหมาะสมกับการเรียนรู้
  • อาจารย์มีตัวอย่างให้นักศึกษาดูว่างานชิ้นนี้ทำแบบไหน
  • อาจารย์มีความสุขไปกับนักศึกษา
  • อาจารย์มอบรางวัลให้กับนักศึกตอนปิดคอสเรียน

Diary Note 16 November 2015

Diary Note No.10

Substance

พัฒนาการทางศิลปะของ (Lowenfeld and Britain)

ความหมาย

  • เป็นเครื่องมือที่ใช้ให้เด็กแสดงความรู้สึก ความต้องการออกมาผ่านผลงาน
  • การวาด การปั้น การประดิษฐ์ การตัด การฉีก การปะ การพับ

ความสำคัญและประโยชน์ของศิลปะสร้างสรรค์
  • เด็กได้แสดงความรู้สึก ความคิด ความสามารถ
  • ตอบสนองธรรมชาติและความต้องการของเด็ก
  • บำบัดอารมณ์
  • ฝึกทักษะการทำงานของอวัยวะต่างๆ
  • แสดงให้เห็นถึงพัฒนาการของเด็ก
1.ขั้นขีดเขียน (Scribbling Stage)
  • 2-4 ปี
  • ความสัมพันธ์ระหว่างมือกับตา
2.ขั้นก่อนมีแบบแผน (Preschemalic Stage)
  • 4-7 ปี
  • ภาพมีความสัมพันธ์กับความจริง
3.ขั้นใช้สัญลักษณ์ (Schemalic Stage)
  • 7-9 ปี
  • คล้ายของจริง
หลักการจัดประสบการณ์ศิลปะ
  • กระบวนการสำคัญกว่าผลงาน
  • หลีกเลี่ยงการวาดภาพตามแบบ การระบายสีจากสมุดภาพ
  • ชื่นชมม
  • เตรียมอุปกรณ์
  • ศิลปะสำคัญเช่นเดียวกับการเขียนอ่าน
  • หลีกเลี่ยงคำถาม "กำลังทำอะไร" หรือ "เดาสิ่งที่เด็กทำ"
กิจกรรมศิลปะสร้างสรรค์
  • กิจกรรมสี
  • การปั้น
  • การตัดปะ
  • การพับ 
  • การประดิษฐ์
  • อาจารย์ให้ชิ้นงานมาทำเพื่อส่งสัปดาห์หน้า
 ความรู้ที่ได้รับ
  • ได้รู้ความหมายของศิลปะสร้างสรรค์มากกว่าเดิมและความสำคัญของศิลปะ
ประเมินเพื่อนร่วมห้อง
  • เพื่อนให้ความร่วมมือดี
ประเมินอาจารย์ผู้สอน
  • อาจารย์มีน้ำเสียงที่น่าฟังเหมาะสมกับการเรียนรู้
  • หาข้อมูลเพิ่มเติมที่นอกเหนือจากใบงานมาบอกนักศึกษา
  • อาจารย์มีความสุขไปกับนักศึกษา

Diary Note 9 November 2015

Diary Note No.9

Substance

สอบสอนการเขียนบนกระดาษเป็นรายกลุ่ม เรื่องโรงเรียนของฉัน


นิทานเรื่อง โรงเรียนของฉัน
ผู้แต่ง  คุณครูและเด็กๆอนุบาล 3

โรงเรียนของเราน่าอยู่
ที่โรงเรียนมีคุณครูใจดี
มีเพื่อนๆมากมายที่โรงเรียน
หนูชอบไปวิ่งเล่นในโรงเรียน
พวกเราทุกคนชอบไปโรงเรียน




อาจารย์ให้แบ่งกลุ่ม 5-6 คน เพื่อทำกิจกรรมการเคลื่อนไหวและจังหวะ
โดยจะส่งตัวแทนแต่ละกลุ่มออกมาสอน และให้กำหนดคำสั่งและสัญญาณดังต้อไปนี้ 

หัวข้อเรื่องต้นไม้
ขั้นนำ
ให้เด็กๆหาบริเวณและพื้นที่และเคลื่อนไหวตามเสียงสัญญาณ
ขั้นสอน
ให้กำหนดคำสั่งและสัญญาณดังต้อไปนี้ 
- แบ่งกลุ่ม 2 คน ให้เด็กสมมติตัวเองเป็นต้นไม้ มีลำต้น
 - แบ่งกลุ่ม 5 คน ให้เด็กสมมติตัวเองเป็นต้นไม้ มีลำต้น กิ่ง และใบ
 - แบ่งกลุ่ม 8 คน ให้เด็กสมมติตัวเองเป็นป่าขนาดใหญ่
ขั้นพักคลายกล้ามเนื้อ
เด็กๆหาบริเวณและพื้นที่เคลื่อนไหวอย่างอิสระ

 ความรู้ที่ได้รับ
  • ได้รู้ทักษะของการสอนการเขียนบนดานและการสอนแบบให้สัญญาณเด็กพร้อมจังหวะ
ประเมินเพื่อนร่วมห้อง
  • เพื่อนให้ความร่วมมือดี
ประเมินอาจารย์ผู้สอน
  • อาจารย์มีน้ำเสียงที่น่าฟังเหมาะสมกับการเรียนรู้
  • อาจารย์มีความสุขไปกับนักศึกษา

Diary Note 2 November 2015

Diary Note No.8

Substance

อาจารย์แจกเพลงใหม่ เพลงWhere is Thumbkin?

ชวนกันแต่งนิทานพร้อมกับอาจารย์เรื่องทะเล และสอนเรื่องการเขียนกระดาน

ขั้นนำ
  1. ร้องเพลงเก็บเด็ก หรือ พูดคุย
  2. ตั้งชื่อเรื่อง "ทะเลแสนงาม"
อาจารย์ให้แบ่งกลุ่มฝึกการเขียนกระดาน เพื่อนที่จะสอบสัปดาห์หน้า


 ความรู้ที่ได้รับ
  • ได้รู้ทักษะของการสอนการเขียนบนดาน
ประเมินเพื่อนร่วมห้อง
  • เพื่อนให้ความร่วมมือดี
ประเมินอาจารย์ผู้สอน
  • อาจารย์มีน้ำเสียงที่น่าฟังเหมาะสมกับการเรียนรู้
  • อาจารย์มีความสุขไปกับนักศึกษา

Diary Note 26 October 2015

Diary Note No.7

Substance


  • อาจารย์แจกสีให้คนละกล่อง
  • อาจารย์ให้ประดิษฐ์ไม้กายสิทธิ์
รูปในการทำกิจกรรม





 ความรู้ที่ได้รับ
  • ได้ประดิษฐ์ไม้กายสิทธฺิ์
ประเมินเพื่อนร่วมห้อง
  • เพื่อนให้ความร่วมมือดี
ประเมินอาจารย์ผู้สอน
  • อาจารย์มีน้ำเสียงที่น่าฟังเหมาะสมกับการเรียนรู้
  • อาจารย์มีความสุขไปกับนักศึกษา

Diary Note 19 October 2015

Diary Note No.6

Substance


  • กิจกกรรมฟังเสียงดนตรีและเสียงสัตว์
-เสียงเปียโน

-เสียงกลองชุด

-เสียงไวโอลีน

-เสียงแซ็กโซโพน

-เสียงสนุข

-เสียงแมว

-เสียงวัว

-เสียงนก

-เสียงเป็ด


  • ทบทวนบทเรียนเรื่องภาษาสร้างสรรค์กับเด็กปฐมวัย
  • เล่มกิจกรรมเสียงกระซิบโดยแบ่งกลุ่ม 5 คน
  • ร้องเพลงอะไรเอ่ย
  • ทำกิจกรรมแต่งเพลงทำนองอะไรเอ่ย




      อะไรเอ่ยเป็นเจ้าแห่งป่า       เป็นสัตว์สี่ขาเลี้ยงลูกด้วยนม
มีขนแผงคอสวยงามน่าชม        เด็กๆทุกคนมาลองทายดู

เฉลย  สิงโต
  

      อะไรเอ่ยตัวสูงคอยาว           มีฟันสีขาวขายาวลายจุด
ชอบกินใบไม้บนยอดสูงสุด        พอถึงวันหยุดเด็กชอบไปดู 

เฉลย ยีราฟ



 ความรู้ที่ได้รับ

  • ได้ฝึกแต่งเพลงอะไรเอ่ยที่เกี่ยวกับสัตว์การใช้คำคล้องจอง
  • ได้ฝึกการจำ
ประเมินเพื่อนร่วมห้อง
  • เพื่อนให้ความร่วมมือดี
ประเมินอาจารย์ผู้สอน
  • อาจารย์มีน้ำเสียงที่น่าฟังเหมาะสมกับการเรียนรู้
  • อาจารย์ใช้เทคนิคในการสอนที่หลากหลาย
  • อาจารย์มีความสุขไปกับนักศึกษา

Diary Note 5 October 2015

Diary Note No.5

Substance

เล่นเกมนักมายากลระดับโลก (เปรียบเสมือนว่ารู้สึกอย่างไรกับที่ต้องโกหกคนอื่น)


  • กิจกรรมนักออกแบบอาคาร

ไม้กับดินน้ำมัน (ให้แบ่งกลุ่มกันและแข่งกันว่ากลุ่มไหนสามารถออกแบบอาคารได้สูงกว่ากันภายในเวลาที่กำหนดให้)
อาจารย์แนะนำการสอนว่าต้องบอกเด็กว่าอะไรและถามเด็กว่าอะไร
ทุกกิจกรรมต้องแบ่งกลุ่มก่อนที่จะแจกอุปกรณ์ให้เด็กทำทุกครั้ง
การเล่นเพื่อสิ่งเสริมความคิดสร้างสรรค์

  • การเล่น

กระบวนการเรียนรู้ และประสบการณ์ที่เด็กได้รับ
ทำให้เด็กเกิดความสนุกสนานเพลินเพลิน ผ่อนคลาย
ปรับตัวให้เข้ากับเพื่อนและสิ่งแวดล้อม                                                                                         
แนวคิดและทฤษฎีเกี่ยวกับการเล่น  
Piaget 
     กล่าวถึงพัฒนกาารเล่นของเด็กมี 3 ขั้นดังนี้
  1. ขั้นการเล่นโดยใช้ประสาทสัมผัส (Sensorimotor Play) เช่น การหยิบจับ สำรวจ ซึ่งจะยตุลงเมื่อเด็ก 2 ขวบ
  2. ขั้นการเล่นสร้างสรรค์ (Constructive Play) อายุ 1ปีครึ่ง-2ปี การเล่นไม่มีขอบเขต เล่นด้วยความพอใจมากกว่าคำนึงถึงความเป็นจริง จะยึดตัวเองเป็นศูนย์กลาง เล่นคนเดียวต่างคนต่างเล่น
  3. ขั้นการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์ (Symbolic Play) อายุ 2 ขวบขึ้นไป สามารถพัฒนาการเต็มที่เมื่ออายุ 3-4 ขวบ เกิดขึ้นเมื่อเด็กสามารถจำและสมมติสิ่งของเครื่องเล่นต่าง ๆ ที่ไม่มีอยู่ที่นั่น ลักษณะการเล่นที่ใช้สัญลักษณ์ที่นับว่าเป็นพัฒนาการสูงสุดคือการเล่นบทบาทสมมติ                                          
  •  การเล่นในร่ม 
  การเล่นตามมุมประสบการณ์
  การเล่นสรรค์สร้าง      
  •  การเล่นสรรค์สร้าง
 การเล่นที่ให้โอกาสเด็กคิดค้นวิธีเล่นอย่างอิสระ และเล่นได้หลายวิธี
ใช้ความคิดพลิกแพลงวิธีเล่นให้แตกต่างไปจากเดิม
เด็กเกิดความรู้ความเข้าใจด้วยตนเอง
  • องค์ประกอบของการเล่นสรรค์สร้าง
  1.  สภาวะการเรียนรู้
  2.  พัฒนาการของการรู้คิด
  3. กระบวนการเรียนและกระบวนการสอน
  • กระบวนการจัดประสบการณ์เพื่อการเรียนรู้
เปลี่ยนแปลงโดยไม่ต้องสับเปลี่ยน
การเรียนรู้เกี่ยวกับตรงเวลา
การจำแนกอย่างมีเหตุผล
  •  หลักการจัดกิจกรรมการเล่นสรรค์สร้าง    
ศึกษาสภาพของเด็กและกำหนดขอบข่ายความสามารถของเด็ก
ศึกษาสภาพแวดล้อม จัดเตรียมสื่อและกิจกรรมให้เหมาะสม
มีส่วนร่วมกับเด็กในจังหวะเวลาที่เหมาะสม
มีการสรุปท้ายกิจกรรม
  • รูปแบบการสอนแบบ STEM
S = Science
T = Tecnology
E = Engineering
M = Mathematics 

  • กิจกรรมเรือน้อยบรรทุกของ
ไห้ออกความคิดสร้างสรรค์ในการออกแบบเรือให้เรือไม่จมในขณะที่ใส่ไข่ไปทั้งหมด 20 ฟอง


 ความรู้ที่ได้รับ
  • ได้เทคนิคการสอนในรูปแบบต่างๆ
  • อุปกรณ์ต่างๆสามารถนำมาใช้เป็นสื่อการเรียนการสอนได้
ประเมินเพื่อนร่วมห้อง
  • เพื่อนให้ความร่วมมือดี
ประเมินอาจารย์ผู้สอน
  • อาจารย์มีน้ำเสียงที่น่าฟังเหมาะสมกับการเรียนรู้
  • อาจารย์ใช้เทคนิคในการสอนที่หลากหลาย
  • อาจารย์มีความสุขไปกับนักศึกษา